กลิ่นแอมโมเนีย ถือเป็นกลิ่นที่มีความฉุนมาก เป็นกลุ่มก๊าซที่อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต โดยสัตว์ที่สัมผัสแอมโมเนียอยู่เสมอจะเกิดอาการแพ้ ระคายต่อเยื่ออ่อนต่างๆ ของอวัยวะในร่างกาย เช่น อวัยวะสืบพันธุ์ ตา หู ปาก จมูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบทางเดินหายใจ ทำให้สัตว์เครียด อ่อนแอลง แสดงอาการคล้ายเป็นหวัด เช่น มีน้ำมูก น้ำตาไหล
จากนั้นจะถูกเชื้อโรคเข้าซ้ำเติมจนเป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย ในสัตว์ปีกจะไวต่อก๊าซแอมโมเนียมากกว่าในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพื้นดินที่มีไนโตรเจนปะปนอยู่ไม่ว่าจากเศษอาหาร มูล ฉี่ เมื่อได้รับความชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติก็จะย่อยอินทรีย์สารเหล่านี้แล้วปล่อยแอมโมเนียออกมา หากปล่อยให้สะสมอยู่นานก็จะมีแอมโมเนียมากขึ้น
การตากแห้งรวมกองก็เช่นเดียวกันหากโดนฝนหรือน้ำจนเปียกก็สามารถปล่อยแอมโมเนียออกมาอีกเหมือนเดิม รวมถึงการชะล้างลงดินส่งให้เกิดขบวนการแอมโมนิฟิเคชัน ทำให้ไนโตรเจนแตกตัวออกแล้วแล้วปล่อยแอมโมเนียต่อ
การนำไคลน็อพติโลไลท์มามาหว่านหรือผสมอาหารเพื่อควบคุมแอมโมเนียในเล้าไก่ ซึ่งอาจจะเป็นเล้าไก่เนื้อที่เลี้ยงบนพื้นดิน พื้นปูนหรือเล้าไก่ไข่ที่มีกลิ่นก๊าซแอมโมเนียจากมูลรุนแรง รวมถึงบ่อพักพักมูลสำหรับผลิตแก็สหรือเพื่อทำปุ๋ยหมักก็ตามแต่ บางครั้งอาจส่งผลก่อกวนเพื่อนบ้านและเหตุดังกล่าวนี้เองที่ทำให้เกิดการฟ้องร้องกันมาหลายรายแล้ว สำหรับการควบคุมขจัดกลิ่นแอมโมเนียในเล้าไก่แนะนำให้ใช้ไคลน็อพติโลไลท์หว่านในอัตรา 1 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 100 ตารางเมตร ส่วนบ่อพักมูลนั้นใช้หว่านในอัตรา 1 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 40 ตารางเมตร กลิ่นก๊าซ กลิ่นแอมโมเนียที่ไม่พึงประสงค์ในเล้าไก่ก็จะถูกจับตรึงไว้จนหมด แต่ถ้าหากนำมูลไก่มาปรับปรุงบำรุงดินก็จะเป็นปุ๋ยละลายช้าอย่างดี ช่วยป้องกันแมลง หนอน ไร รา เนื่องจากในเนื้อของไคลน็อพติโลไลท์นั้นอุดมไปด้วยซิลิก้า
สำหรับการคลุกผสมอาหารให้ใช้อัตรา 3 กิโลกรัมต่ออาหาร 100 กิโลกรัมหรือ 3 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนอาหาร เนื่องจากคุณสมบัติของเนื้อไคลน็อพติโลไลท์ดังกล่าวก็จะไปจับตรึงก๊าซต่างๆ ภายในลำไส้ของสัตว์ เวลาขับถ่ายมูลออกมาเนื้อสารก็จะจับตรึงก๊าซหรือกลิ่นได้ในทันที หากยังมีกลิ่นเหม็นให้หว่านทับลงไปที่กองหรือบ่อพักอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ยังช่วยจับตรึงทำลายสารพิษกลุ่มอะฟลาท็อกซินที่ตกค้างติดมาในอาหาร ช่วยลดอัตราการตายของไก่ให้น้อยลง ส่งผลให้เจริญเติบโตดี ผลผลิตเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย
เกษตรกรท่านใดสนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหาซื้อผลิตภัณฑ์คุณภาพได้ที่ ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ www.thaigreenagro.com (02-9861680-2) หรือนักวิชาการชมฯ (081-3983128)
เทคนิคการทำเกษตร
ออกแบบพื้นที่ 1 ไร่ อย่างไรให้เหมาะสม
มีแปลงเกษตรบน พื้นที่ 1 ไร่ จะออกแบบอย่างไร ให้คุ้มค่าที่สุด มาดูบทความนี้ มีคำแนะนำที่ดี ในการสร้างพื้นที่เพียงไร่เดียวให้คุ้ม แถมยังทำรายได้สูงกว่าการเพาะปลูก
สาระน่ารู้ด้านเกษตร
วิถีเกษตรแห่งขุนเขา
จากดินแดนที่อยู่เหนือสุดในสยามประเทศ ติดกับชายแดนสามแผ่นดิน เมืองล้านนา ณ จังหวัดเชียงราย เพื่อศึกษาถึงวิถีเกษตรกรรมของผู้คนในจังหวัด ซึ่งส่วนใหญ่มักจะประสบกับปัญหาดินเสื่อมโทรมและดินถล่มอยู่เสมอ ซึ่ง จ.เชียงราย
สาระน่ารู้ด้านเกษตร
เตรียมพร้อมกับ เกษตรพอเพียง
พลิกที่นาแบบเก่าๆ ปรับเปลี่ยนมาทำการเกษตรพอเพียง พบหนทางแก้จน ของคุณธงชัย บุญชู เกษตรกรชั้นดีจากศรีสะเกษ ในอดีตนั้นจากแปลงเกษตรผืนเล็กๆ ที่ถูกกั้นด้วยคันดินของอ่างเก็บน้ำบ้านโนนเปือย
สาระน่ารู้ด้านเกษตร
เกษตรปลอดสารพิษ ปลอดภัย จริงหรือไม่
หากใครไม่มีโรค จะได้ลาภอันประเสริฐ เป็นคำอมตะอย่างแน่แท้ทีเดียวที่ยังใช้ได้ทุกเมื่อเชื่อวัน แม้ว่าวันนี้เราจะมีวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่ทันสมัย สามารถที่จะช่วยให้มนุษย์และสัตว์มีชีวิตที่ยืนยาวขึ้นได้ แต่การเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ
สาระน่ารู้ด้านเกษตร
โครงการปลูกพืชผักสวนคนเมือง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี ในวันอาทิตย์ ที่ 25 พ.ย.55 นี้ จัดงานเกษตร พบกับโครงการรู้แจ้งวิกฤตปัญหาความไม่มั่นคงทางอาหาร วิถีการต้านวิกฤต สร้างสุขภาวะ โดยการพึ่งพิงตนเองด้วยสวนผักคนเมือง พบผู้เชี่ยวชาญด้านการปลูกผักสวนครัว และนิทรรศการ
สาระน่ารู้ด้านเกษตร
ข้าวอินทรีย์ในแบบ ข้าวคุณธรรม
จากอดีตนั้นเกษตรกรที่ทำนาปลูกข้าวส่วนใหญ่ทำตามบรรพบุรุษสั่งสอนกันมา ได้ผลผลิตมากบ้างน้อยบ้างเป็นเรื่องธรรมดา
เทคนิคการทำเกษตร
การเลี้ยงไก่ไข่พันธุ์โร้ดไอส์แลนด์เรด
ไก่ไข่พันธุ์โร้ดไอส์แลนด์เรดนั้น เป็นไก่ไข่ ที่คนไทยนิยมเลี้ยงกันมาก ถือว่าเป็นสายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตเฉลี่ย ประมาณ 220-270 ฟองต่อปี
เทคนิคการทำเกษตร
การปลูกหน่อไม้ฝรั่ง ในแบบเกษตรอินทรีย์
พันธุ์หน่อไม้ฝรั่งที่เกษตรกรใช้ในการปลูกมีหลายสารพันธุ์เช่น แม่รี่วอชิงตัน (Marywashington) , แคลิฟอร์เนีย 500 (Califormia 500) , แคลิฟอร์เนีย 309 (California 309) , ไฮบริดอิมพีเรียล
เทคนิคการทำเกษตร
การทำนาในฤดูหนาว แบบ เกษตรพอเพียง
การทำนาในฤดูหนาว โดยปกติแล้วการทำนาในฤดูกาลไหน ๆ มักจะเหมือนกันหมด เพราะส่วนใหญ่เกษตรกรทั่วไปใช้สารเร่ง